ก่อนที่เราจะเริ่มต้นรู้จักกับ Kardinal Stick เรามาทำความรู้จักผลิตภัณฑ์ประเภทนี้ก่อนว่ามีหลักการทำงานอย่างไรบ้าง โดยการทำงานของผลิตภัณฑ์จะเป็นการลวงประสาทสัมผัสของผู้ใช้ว่าได้รับการสนองตอบต่อความต้องการนิโคติน ด้วยปริมาณนิโคตินที่ได้รับจากผลิตภัณฑ์ในจำนวนที่จำกัด โดยเป็นปริมาณที่น้อยกว่าผลิตภัณฑ์แบบเดิม เพื่อสร้างความเหมาะสม และปลอดภัยในการใช้งาน และด้วยรูปลักษณ์ ด้วยแสงไฟแอลอีดีที่ปลายอุปกรณ์ และรูปร่างของไอน้ำสีขาวที่มีลักษณะคล้ายควัน สร้างความรู้สึก “อิ่มเอม” หลังการใช้งานไปแล้ว ควันที่เกิดจากผลิตภัณฑ์คือไอน้ำที่เกิดจากปฏิกิริยาของสารพีจีที่ถูกคลื่นความร้อนไมโครเวฟจากตัวสร้างควันทำให้แตกตัวและดูดน้ำในอากาศกลายเป็นสายหมอกไอน้ำสีขาวที่มีคล้ายคลึงกับไอนำจากกาต้มน้ำ แต่มีความหนาแน่นและรวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อนมากกว่า ซึ่งจะแตกต่างจากควันของจริงที่มีสีออกเทา และมีอันตรายสูงกว่า
Tag Archives: kardinal stick ดีไหม
จากผลวิจัยต่าง ๆ มากมายที่ออกมาทำให้เราทราบว่า ผลิตภัณฑ์ทดแทนการสูบอย่าง Kardinal Stick รวมถึงน้ำยาหลากหลายกลิ่นนี้ มีข้อดีกว่าการสูบแบบปกติ แต่คุณทราบหรือไม่ว่ายังมีสิ่งที่น่าสนใจอีกมากมาย ลองมาดูความจริง 5 ข้อนี้กันค่ะ
90% ของผู้ใช้เห็นว่า การลงทุนซื้อ KS ครั้งเดียว คุ้มค่าและใช้ได้นานกว่าปกติมาก นอกจากนี้ยังพกพาสะดวก ใช้งานได้ยาวตลอดวัน
Kardinal Stick เป็นเทคโนโลยีแบบ Pod System ที่สามารถให้ปริมาณนิโคตินได้โดยไม่ผ่านกระบวนการเผาไหม้ และไม่มีสารก่อมะเร็งชนิดอื่นเหมือนการสูบปกติที่มีสารประกอบกว่า 7,357 ชนิด และมี 70 ชนิดได้ถูกระบุว่าเป็นสารก่อมะเร็งแน่นอน เช่น ทาร์ (Tar) เป็นต้น ในส่วนนี้การใช้ KS จึงอันตรายน้อยกว่าถึง 95% ทำให้ Kardinal Stick เป็นอีกทางเลือกในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบไม่หักดิบจนเกินไป
ปัจจุบันเทคโนโลยีพัฒนาไปมาก จนทำให้ฟีลลิ่งสูบของ KS ให้ความเป็นธรรมชาติมากกว่า สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ง่าย จากเดิมแบบ Direct ซึ่งจะเกิดความรู้สึกกระแทกคอ มาเป็นแบบ Mouth แทน และเมื่อผู้ใช้ปรับตัวได้ จะส่งผลให้ความอยากนิโคตินลดลง หรือที่เรียกกันว่าภาวะ Smoking Craving นำไปสู่การเลิกได้อย่างถาวร
บุคลิกดีขึ้น เพราะไม่มีกลิ่นควันติด ไม่รบกวนคนรอบข้าง เพิ่มความสุขให้กับครอบครัวผู้ใกล้ชิด ลดอันตรายจากการสูดควันมือสอง
ปัจจุบันมีงานวิจัยมากมายสนับสนุนด้านการเลิกสูบ ตัวอย่างเช่นงานวิจัยชิ้นหนึ่งในประเทศอังกฤษเผยผลการทดลองของกลุ่มตัวอย่างที่เข้าอบรมปรับพฤติกรรมเป็นระยะเวลา 3 เดือน พบว่าได้ผลดีกว่า โดยกลุ่มทดลองที่ใช้เลิกสูบได้ถึง 18% ในขณะที่กลุ่มใช้ยารักษาเลิกสูบได้เพียง 9.9%